ค่ายเวิร์คช็อป+ค้นหาตัวเอง มาจุดประกายความฝันพร้อมสร้างแรงบันดาลใจไปด้วยกัน กับค่าย3ศาสตร์ อาชีพเหล่านี้จะเหมาะกับน้องๆหรือไม่ ค่ายนี้จะพาน้องๆไปหาคำตอบ พร้อมภาพกิจกรรมและเกียรติบัตร
หมวดหมู่ - วิทยาศาสตร์
ค่าย/กิจกรรมสาขาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ STEM
กิจกรรมฝึกอบรม “ATCG : DNA for Beginners”-สวทช. (Genetics)
เปิดรับสมัครน้องม.ต้นและม.ปลายที่สนใจเรื่องดีเอ็นเอแบบเบื้องต้น โดยได้เรียนรู้แบบใกล้ชิดกับทีมงานสวทช.อย่างเข้มข้นและได้ลงมือสกัดดีเอ็นเอจริงแบบเดียวกับงานวิจัย มาสมัครเข้าค่ายกันได้เลยค่ะ
ค่ายวิทยาศาสตร์ + สัตววิทยา (ZOO – SCI DOLPHIN CAMP)
เปิดรับแล้วค่ายวิทยาศาสตร์ + สัตววิทยา ตะลุยทั้งเนื้อหาและเวิร์คช็อปแบบจัดเต็ม 6 กิจกรรม พร้อมทดลองสอบ Labกริ้ง ได้ภาพกิจกรรมและเกียรติบัตรใช้ต่อยอดในรอบพอร์ตฯ น้องๆมัธยมไม่ควรพลาด คลิ๊กเลย
Criminal Mind นิติวิทยาศาสตร์ไขคดีฆาตกรรม
“พยานบุคคล” อาจให้การจริงหรือให้การเท็จก็ได้ แต่ “พยานหลักฐานที่เป็นนิติวิทยาศาสตร์” ไม่อาจโกหกได้ แล้วพบกัน ในแลปจำลอง
Zygote camp A land of magic สนุกคิดกับวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 15
Zygote Camp KU จัดโดยสโมสรนิสิตคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน เป็นค่ายแนะแนวน้องๆมัธยมปลาย มาทำความรู้จักกับคณะวิทยาศาสตร์ ทำปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์และกิจกรรมสันทนาการสุดปัง!
ค่ายโอลิมปิกวิชาการ สวช. ภาคคณิตศาสตร์ประยุกต์ ประจำปี 2566
ค่ายโอลิมปิกวิชาการ สวช. ภาคคณิตศาสตร์ประยุกต์ ประจำปี พ.ศ. 2566 (NAT Olympic Applied Math Camp 2023) เป็นค่ายอบรมวิชาการและพัฒนาทักษะด้านคณิตศาสตร์ประยุกต์ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
เทคนิกการอ่านภาษากาย ด้วยวิทยาศาสตร์ด้านพฤติกรรม
ภาษาพูดโกหกได้ แต่ภาษากายไม่เคยโกหกเรา เข้าใจคู่สนทนาของเราได้มากขึ้นจาก ‘วิทยาศาสตร์การอ่านภาษากาย’
The World of Food Science and Technology (เทคโนโลยีทางอาหาร)
ช่วยให้น้องๆ เข้าใจและศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบต่างๆ ของอาหาร (เข้าใจการทำงานของอาหาร, พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่, ความปลอดภัยทางอาหาร, โอกาสทางอาชีพ และความเป็นมาตรฐาน)
ค่าย LSEd Creative Science Camp (in the Kitchen) 3 วัน 2 คืน
มาลองเป็นเด็ก “เส้น” กับค่าย LSEd Creative Science Camp (in the Kitchen) 3 วัน 2 คืน พาน้อง ๆ มาเรียนรู้ว่ากว่าจะเป็น "เส้น" ที่เรากินมันมีกระบวนการอย่างไร และเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อย่างไร ?
ปฏิบัติการ: พื้นฐานการใช้งานกล้องจุลทรรศน์ทางชีววิทยา
การศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับเซลล์ จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ในการสังเกตรูปร่าง โครงสร้าง การจัดเรียงตัว ตลอดจนส่วนประกอบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต